ข้อมูลเชิงลึก
ริเริ่มคิดค้นอย่างกล้าหาญ เพื่อบรรลุความสำเร็จที่เหนือกว่า
เรามีผู้เชี่ยวชาญ ที่คอยวิเคราะห์ และสนับสนุนในด้านต่างๆ
เจาะลึก”อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย”ปี 2564-2566 โอกาสขยายตัว 4%
เปิดปัจจัยสนับสนุน”อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย”ปี 2564-2566 นักวิเคราะห์มั่นใจมีแนวโน้มเติบโต 4 % แต่ให้จับตาปัจจัยเสี่ยง ปัญหาการเมืองสหรัฐ-จีน ,การขึ้นภาษีนำเข้าของฟิลิปปินส์, นโยบายรถยนต์ไฟฟ้า อาจส่งผลกระทบกับการส่งออก
อุตสาหกรรมยานยนต์ แนวโน้มปี 2566 จะเติบโตต่อเนื่องถึงปี 2569
ยอดผลิตรถยนต์ปี 2566 เราคาดจะเติบโตต่ออีก 5.5% สู่ระดับ 1.9 ล้านคัน หลังปี 2565 เติบโต 6.7% สู่ระดับ 1.8 ล้านคัน โดยยอดผลิตรถยนต์เพื่อจำหน่ายในประเทศจะได้แรงหนุนจากเศรษฐกิจไทยปี 2566 ที่เราประเมิน GDP จะเติบโต 3.2% (เทียบกับปี 2565 จะโต 3.2%) และการบริโภคภาคเอกชน คาดจะเติบโต 4% ส่วนยอด ผลิตรถยนต์เพื่อส่งออก คาดจะได้แรงหนุนจากเศรษฐกิจโลกปี 2566 ซึ่ง IMF คาดจะ เติบโต 2.7% (เทียบปี 2565 จะโต 3.2%) โดยเฉพาะตลาดส่งออกรถยนต์ของไทยคือ Emerging and Developing Asia จะโต 4.9% (เทียบปี 2565 จะโต 4.4%)
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2564-2566: ธุรกิจผลิตไฟฟ้า
ปี 2564-2566 ธุรกิจผลิตไฟฟ้าภาคเอกชนมีแนวโน้มเติบโตดี ตามความต้องการใช้ไฟฟ้าในประเทศที่คาดว่าจะขยายตัวเฉลี่ย 2.8-3.8% ต่อปี รวมถึงนโยบายสนับสนุนการลงทุนภาครัฐตามแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าและแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
การบริหารความเสี่ยงด้านไซเบอร์ภายในธุรกิจและองค์กร
ปัจจุบันเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ เป็นเครื่องมือสำคัญต่อการขับเคลื่อนธุรกิจและองค์กรให้มีความก้าวหน้าและรวดเร็ว รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงธุรกิจให้เข้าสู่สังคมดิจิทัล (Transformation) ทำให้ธุรกิจและองค์กรเหล่านั้นต้องเผชิญกับความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threats) ที่มากขึ้น
งานเด็ดงานโดนของ First Jobber
ว่านักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในปีนี้ เป็นกลุ่มที่ใช้เวลาเกินครึ่งในการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งแม้ว่าเราจะไม่ต้องล็อกดาวน์กันอีกต่อไปแล้ว แต่บัณฑิตจบใหม่เหล่านี้ก็อาจจะมีบางส่วนที่ต้องทำงานผ่านช่องทางออนไลน์ต่อไปอีก ในวันนี้จึงขอชวนทุกท่านมาแลกเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับกลุ่ม First Jobber หรือแรงงานแรกเข้าที่ไม่เคยทำงานมาก่อน ภายใต้โลกหลังโควิด-19
นโยบายการเงินสีเขียว ช่วยลดโลกร้อน?
ปีนี้ทั่วโลกตื่นตัวรับมือกับโจทย์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) มากขึ้น ประเทศต่างๆ จับมือร่วมกันในเวทีโลก COP26 เพื่อเร่งแก้ปัญหาวิกฤตโลกร้อน หลายประเทศประกาศกลยุทธ์นโยบายภายในประเทศให้สอดรับกันเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย “ความเป็นกลางทางคาร์บอน (carbon neutrality)”
จับตายุทธศาสตร์ K-Semiconductor แต้มต่อของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยสู่เวทีโลก
ในทศวรรษที่ผ่าน
ซอฟต์พาวเวอร์อาวุธทรงพลัง เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมสู่สินค้า
ซอฟต์พาวเวอร์ (Soft power) เป็นแนวคิดที่พัฒนาโดย โจเซฟ นาย จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ที่มองว่า ซอฟต์พาวเวอร์ คือ อิทธิพลที่ไม่ได้มาจากการบังคับ หรือใช้ความรุนแรง แต่เป็นการนำจุดเด่นที่แต่ละประเทศต่างมี เช่น วัฒนธรรม กีฬา การศึกษา มาโน้มน้าวชักจูงและดึงดูดความสนใจ ให้ผู้อื่นเปลี่ยนแปลงคล้อยตามความคิดโดยไม่ใช้การบังคับข่มขู่ให้ต้องชอบหรือต้องทำตาม
ท่องเที่ยวในประเทศไทย พ.ศ. 2565-2566
ปี 2563 และ 2564 การเดินทางในประเทศไทยลดลงอย่างมาก โดยอุปสงค์เปลี่ยนจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศเป็นนักท่องเที่ยวในประเทศ จำนวนนักท่องเที่ยวขาเข้าประเทศไทยลดลงประมาณ 4 ใน 5 ในปี 2563 และลดลงทั้งหมดในปี 2564 เนื่องจากข้อจำกัดด้านโควิด-19 เข้มงวดขึ้นอย่างมาก
บทวิเคราะห์แนวโน้มผู้บริโภคในประเทศไทยปี 2566: เมื่ออัตราเงินเฟ้อ การว่างงานลดลง
การคาดการณ์การเติบโตที่แท้จริงของการใช้จ่ายของผู้บริโภคในประเทศไทยในปี 2566 สอดคล้องกับการคาดการณ์ของทีมงาน Pakgon ของเราที่ว่าเศรษฐกิจจะเติบโตในอัตราที่แท้จริงที่ 3.6% ในปี 2566 ซึ่งสูงกว่าการเติบโตที่คาดการณ์ไว้ที่ 3.3% ในปี 2565 เล็กน้อย
แนวโน้มความต้องการในอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
แม้จะมีสภาพแวดล
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของภาคเกษตร-อาหารในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การวิเคราะห์อย่างครอบคลุมเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของภาคเกษตรและอาหารที่มีต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านตลาดหลัก 5 แห่ง ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนาม เราสำรวจแนวโน้มอุปสงค์สำหรับภาคส่วนนี้และความท้าทายที่เผชิญในบริบทเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันและในระยะยาว
ต้อนรับปีใหม่ 2566 คึกคัก คาดการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวไทยและต่างชาติในช่วง 4 วัน มีมูลค่าประมาณ 30,000 ล้านบาท
การท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลเฉลิมฉลองส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ 2566 กลับมามีบรรยากาศคึกคักอีกครั้งในรอบ 2 ปี ทั้งจากคนไทยเดินทางท่องเที่ยวในประเทศเพิ่มขึ้น และชาวต่างชาติที่มีแผนเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยในช่วงท้ายปีมากขึ้น
ความเสี่ยงอุทกภัยในปี 2565-2566 และผลกระทบต่อภาคเกษตรและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
ปริมาณน้ำในเขื่อนขนาดใหญ่มีระดับสูงใกล้เคียงปี 2554 ที่เกิดมหาอุทกภัย โดยพื้นที่เสี่ยงได้แก่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ซึ่งอาจสร้างความเสียหายต่อหน่วยกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาทิ ครัวเรือน โรงงาน เครื่องจักร และสินค้าเกษตร
บันได 5 ขั้น ยกระดับโครงสร้างทะเบียนแรงงานไทย
เศรษฐกิจยังมีความไม่แน่นอนอยู่มากจากสงครามระหว่างยูเครนและรัสเซียที่ส่งผลให้ราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องพุ่งสูงขึ้นจนกระทบต่อต้นทุนการดำเนินธุรกิจและค่าครองชีพ
การเดินทางของภาคการเงินไทย: สู่เป้าหมายความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
กระแสสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงและภัยธรรมชาติได้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจไทยและความเป็นอยู่ของประชาชนรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ อาทิ ภาวะน้ำท่วมเฉียบพลันจากพายุ “มู่หลาน” โดยเฉพาะอำเภอแม่สาย จ.เชียงราย ทำให้ภาคธุรกิจ และพื้นที่การเกษตร เสียหายเป็นวงกว้าง
จัดทัพธุรกิจ ฝ่าวิกฤติต้นทุนแพง
การทำธุรกิจในช่วงวิกฤติโควิดที่ต้องแก้ปัญหาและปรับตัวอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมาก็คล้ายกับการแข่งขันวิ่งมาราธอน แม้จะเหน็ดเหนื่อยและวิ่งมาได้ไกลระยะหนึ่งแล้ว แต่ก็ยังมีบททดสอบความแข็งแกร่งเข้ามาอยู่เรื่อย ๆ จนถึงวันนี้ยังไม่ทันได้เข้าเส้นชัย แต่ทุกธุรกิจก็ต้องเผชิญวิกฤติใหม่เรื่องต้นทุนโดยทั่วกัน เมื่อราคาน้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์เกือบทุกชนิดทยอยปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง เข้าสู่อีกบททดสอบและเป็นระยะวัดใจว่าธุรกิจไหนจะ “รอดหรือจอด” จากตรงนี้
จุดบอดของคริปโตเคอร์เรนซี
ริปโตเคอร์เรนซี เช่น บิทคอยน์ จะกลายเป็นสกุลเงินในอนาคตที่ถูกนำมาใช้จ่ายอย่างแพร่หลายหรือไม่ เนื่องจากเทคโนโลยีบล็อกเชนสามารถยืนยันการแลกเปลี่ยนเงินได้โดยไม่ต้องมีตัวกลางอย่างสถาบันการเงินมาตรวจสอบความถูกต้อง
‘ข้อมูล’ หรือ DATA เชื้อเพลิงแห่งการพัฒนาประเทศ
แนวคิดว่าข้อมูลเป็น “เชื้อเพลิง” เติมพลังขับเคลื่อนการทำงานให้กับทุกภาคส่วนนั้น เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ทั้งในกลุ่มที่ได้รับประโยชน์ทางตรง หรือมีส่วนเกี่ยวข้องทางอ้อม อย่างไรก็ดี แนวทางในการใช้งานข้อมูลในทางปฏิบัติยังมีความหลากหลายตามความพร้อมของผู้ใช้และความเข้าใจของเจ้าของข้อมูล ในวันนี้จึงขอเชิญทุกท่านมาแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับการใช้งานข้อมูลในการพัฒนาประเทศ
เปลี่ยนวงจรชีวิตเกษตรกรจาก ‘วงจรถดถอย’ สู่ ‘วงจรโอกาส’
ย้อนไป 60 ปีก่อน แรงงานไทยร้อยละ 60 ทำงานอยู่ในภาคเกษตร ซึ่งขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยร้อยละ 36 ของ GDP ผ่านไป 60 ปี แรงงานภาคเกษตรลดลงประมาณ 2 เท่า แต่สัดส่วน GDP กลับลดลงมากกว่าประมาณ 4 เท่า
ปลดล็อกการท่องเที่ยวให้ปัง เติมพลังเศรษฐกิจไทย
การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่บรรเทาลง ส่งผลให้ภาคการท่องเที่ยวทั่วโลกฟื้นตัวต่อเนื่อง หลายประเทศทยอยผ่อนคลายมาตรการกลับสู่ภาวะปกติ พร้อมใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับโควิดที่กำลังเปลี่ยน ผ่านเป็นเพียงโรคประจำถิ่น รวมถึงไทยที่กลับมาเปิดประเทศเต็มรูปแบบเมื่อ ก.ค. 65 ส่งผลให้ นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามามากขึ้น
เจาะลึกการใช้บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (FCD) ของคนไทยในปัจจุบัน
ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อกำไรและผลประกอบการของภาคธุรกิจที่มีรายได้รายจ่ายเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ
Future Mobility Asia 2023: บทวิเคราะห์การเติบโตด้าน Mobility ของเอเชีย
ด้วยจำนวนประชากร 3.2 พันล้านคน ชนชั้นกลางอายุน้อยที่กำลังเติบโต และนโยบายที่ยั่งยืนเชิงรุก เอเชียจะมีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงระดับโลกไปสู่การเคลื่อนย้ายที่สะอาด
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-65: ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน
ปี 2563 ผลประกอบการของโรงพยาบาลเอกชนได้รับแรงกดดันจากการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 กระทบกำลังซื้อของผู้ป่วยไทยและต่างชาติ ทำให้รายได้ของธุรกิจมีแนวโน้มหดตัว 10.0-12.0% ขณะที่ปี 2564-2565
การเกษตร 4.0 – อนาคตของเทคโนโลยีการเกษตร
กระแสโลกหลายประการมีอิทธิพลต่อความมั่นคงทางอาหาร ความยากจน และความยั่งยืนโดยรวมของระบบอาหารและการเกษตร
ความท้าทายในการทดลองทางคลินิก: ชนะใจผู้ป่วย ชนะใจแพทย์
ในสภาพแวดล้อมที่ซับซ้อนและมีการแข่งขันมากขึ้น ผู้สนับสนุนสามารถมุ่งเน้นไปที่ประสบการณ์ของผู้ตรวจสอบและผู้ป่วยเพื่อส่งมอบผลลัพธ์ที่ดีขึ้นและรวดเร็วขึ้น
แนวโน้มอุตสาหกรรมปี 2564-2566: อิเล็กทรอนิกส์
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทยคาดว่าจะกลับมามีอัตราการเติบโตที่ดีในช่วงสามปีตั้งแต่ปี 2564 ถึง 2566 เนื่องจากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่แตกต่างกันหลายประการ
แนวโน้มอุตสาหกรรมปี 2564-2565: อุปกรณ์การแพทย์
ภาคส่วนนี้เติบโตอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับจำนวนผู้ป่วยและประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากผลิตภัณฑ์ถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต ภาคส่วนนี้จึงมีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ
เงินสกุลดิจิทัลของธนาคารกลาง: ความท้าทายใหม่ของธนาคารพาณิชย์
สกุลเงินดิจิทัลของธนาคารกลาง (CBDC) คือเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารกลางในแต่ประเทศ ซึ่งมีคุณสมบัติไม่ต่างจากเงินที่เป็นธนบัตรหรือเหรียญกษาปณ์ที่ประชาชนใช้กันอยู่ในปัจจุบัน แต่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และมีความแตกต่างจากเงินคริปโตหรือ Stablecoins ในปัจจุบันธนาคารกลางต่างมุ่งหวังให้ CBDC เข้ามาตอบโจทย์การใช้งานของประชาชนในยุคดิจิทัลนี้ได้อย่างสมบูรณ์ขึ้น โดยไม่ต้องเพิ่มขั้นตอนการเปลี่ยนเงินสดในมือเพื่อมาใช้งานในรูปแบบเงินดิจิทัลเฉกเช่นในปัจจุบัน อีกทั้งการใช้ CBDC นั้นยังเพิ่มบทบาทของธนาคารกลางในการติดต่อกับประชาชนเองได้โดยตรง และเงินดิจิทัลนี้ยังช่วยให้ธนาคารกลางประหยัดต้นทุนในการป้อนเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจได้อีกด้วย